โค้ดตัวอักษรวิ่ง ยินดีต้อนรับสู่บล็อกวิชาสังคมศึกษา ของ"นางสาววรรณภา บุญรอด"

วันอังคารที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

สัมพันธ์ ไทย-เวียดนาม

ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนามในเวทีอาเซียน


                   ไทยและเวียดนาม ต้องอยู่ในภาวะเผชิญหน้ากันตลอดช่วงสมัยสงครามเย็น คือ ตั้งแต่ไทยตัดสินใจเข้าร่วมกับฝ่าย โลกเสรีที่มีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำในการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในช่วงต้น พ.ศ.2493 (ค.ศ. 1950) จนกระทั่งสงครามเย็นยุติลงเมื่อสิ้นทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523)อ่านเพิ่มเติม 


ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


               ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นข้ามเขตพรมแดนของรัฐ ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยรัฐหรือตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รัฐ ซึ่งส่งผลถึงความร่วมมือหรือความขัดแย้งระหว่างประเทศต่าง ๆ ในโลกอ่านเพิ่มเติม


สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย

สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย


                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ. 2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา 26 ถึง 69 ได้บรรยายขอบเขตของสิทธิเฉพาะในบางด้านอ่านเพิ่มเติม


สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน


              สิทธิมนุษยชน (Human Right) หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศอ่านเพิ่มเติม



กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ

กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ


                  กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (อังกฤษ: international humanitarian law, ย่อ: IHL) หรือกฎหมายการขัดกันด้วยอาวุธ (อังกฤษ: law of armed conflict) เป็นกฎหมายซึ่งวางระเบียบจรรยาแห่งการขัดกันด้วยอาวุธ (jus in bello) เป็นกฎหมายระหว่างประเทศสาขาหนึ่งอ่านเพิ่มเติม


กฎหมายเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
          กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
1.  ชื่อบุคคล  เป็นเครื่องบ่งชี้เฉพาะบุคคล  ประกอบด้วยชื่อตัว  ชื่อรอง  และชื่อสกุล (แต่คนไทยไม่นิยมใช้ชื่อรอง)
–  ชื่อตัว  เป็นชื่อประจำตัวบุคคลแต่ละคน  ใช้บ่งชี้เฉพาะตัวบุคคลได้  แต่มิอาจซ้ำกันอ่านเพิ่มเติม




สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย

ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญของไทย


                    นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในระบบการเมืองไทย คือ ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญอ่านเพิ่มเติม


การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ

การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ


                 เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ประการหนี่งคือ ปรบปรุงโครงสร้างทางการเมืองให้มีเสถียรภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งนี้โดยคำนึงถึงความคิดเห็นของประชาชนเป็นสำคัญซึ่งในประเด็นที่เกี่ยวกับการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐนั้นอ่านเพิ่มเติม 


พลเมืองดี

พลเมืองดี

               พลเมืองดี หมายถึง ประชาชนที่ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ของสังคมมีความรับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ของตนเอง รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมไม่ละเมิดล่วงล้ำสิทธิ
และเสรีภาพของ บุคคลอื่นอ่านเพิ่มเติม


คุณลักษณะของพลเมืองดี

คุณลักษณะของพลเมืองดี


              คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้อ่านเพิ่มเติม


การเลือกรับวัฒนธรรมสากล

วิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล


      ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับนานาชาติมีมาช้านาน เนื่องจากไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนานาชาติตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยเฉพาะจีนและอินเดียเป็นสองชาติแรกที่มีการติดต่อค้าขายกับไทย จึงทำให้ไทยได้รับวัฒนธรรมทั้งด้านภาษา ศาสนา และความเชื่ออ่านเพิ่มเติม 


วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย

            วัฒนธรรม  หมายถึง วีถีการดำรงชีวิตที่ดีงาม ได้รับการสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบันเป็นผลผลิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ทั้งด้านวัตถุ แนวคิดจิตใจ อ่านเพิ่มเติม 


ปัญหาสังคมไทย

ปัญหาสังคมไทย 
            ปัญหาสังคม   หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้นอ่านเพิ่มเติม


การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 


           สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอ่านเพิ่มเติม


การจัดระเบียบทางสังคม

การจัดระเบียบทางสังคม
 
          การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคมอ่านเพิ่มเติม



วันจันทร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

โครงสร้างทางสังคม

โครงสร้างสังคม

          โครงสร้างสังคม หมายถึง ระบบของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่าง กันตามระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่จะทำให้สังคมเป็นระเบียบอ่านเพิ่มเติม